ที่มา: www.kasmethai.com/taxwatch
กฏหมายภาษีที่ดิน ที่กำลังจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ในวันนี้ สถาบันคัสเม่จึงขอสรุปสาระสำคัญ ที่เจ้าของที่ดินและสิ่งปลูกสร้างควรทราบ และทำความเข้าใจว่าเราอยู่ในเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีที่ดิน ด้วยหรือไม่
เรามาทำความเข้าใจกับอัตราภาษี สำหรับที่ดินในแต่ละประเภทกันก่อนค่ะ
ที่ดินสำหรับการทำเกษตรกรรม
(ทำนา ทำไร่ ทำสวน เลี้ยงสัตว์บก/น้ำ และอื่นๆตามที่ประกาศกำหนด)
มูลค่าที่ดิน 0-75 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.01%
มูลค่าที่ดิน 75-100 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่าที่ดิน 100-500 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่าที่ดิน 500-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.07%
มูลค่าเกิน 1,000 ล้านบาทขึ้นไป อัตราภาษี 0.10%
ยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา สำหรับมูลค่าที่ดิน 50 ล้านบาทแรก และยกเว้นการจัดเก็บภาษีกับบุคคลธรรมดาใน 3 ปีแรก ที่กฏหมายบังคับใช้
มูลค่าที่ดิน 75-100 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่าที่ดิน 100-500 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่าที่ดิน 500-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.07%
มูลค่าเกิน 1,000 ล้านบาทขึ้นไป อัตราภาษี 0.10%
ยกเว้นภาษีบุคคลธรรมดา สำหรับมูลค่าที่ดิน 50 ล้านบาทแรก และยกเว้นการจัดเก็บภาษีกับบุคคลธรรมดาใน 3 ปีแรก ที่กฏหมายบังคับใช้
ที่ดินสำหรับการสร้างที่อยู่อาศัย
กรณีบ้านหลังหลัก บุคคลธรรมดาเป็นเจ้าของที่ดิน+สิ่งปลูกสร้าง+มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
มูลค่าไม่ถึง 25 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 25-50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 50 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังหลัก บุคคลธรรมดาเป็นเจ้าของเฉพาะสิ่งปลูกสร้าง+มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
มูลค่าไม่ถึง 40 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.02%
มูลค่า 40-65 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 65-90 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 90 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังอื่นๆ
มูลค่าไม่ถึง 50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.02%
มูลค่า 50-75 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 75-100 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 100 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังหลักที่เป็นเจ้าของบ้านและเจ้าของที่ดิน (เจ้าของบ้านอาศัยอยู่เอง) ได้รับการยกเว้นภาษี 50 ล้านบาทแรก ส่วนกรณีเป็นเจ้าของเฉพาะบ้านอย่างเดียว (บ้านเจ้าของอยู่เองบนที่ดินเช่า) จะได้รับการยกเว้นภาษี 10 ล้านบาทแรก
มูลค่าไม่ถึง 25 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 25-50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 50 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังหลัก บุคคลธรรมดาเป็นเจ้าของเฉพาะสิ่งปลูกสร้าง+มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
มูลค่าไม่ถึง 40 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.02%
มูลค่า 40-65 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 65-90 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 90 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังอื่นๆ
มูลค่าไม่ถึง 50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.02%
มูลค่า 50-75 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.03%
มูลค่า 75-100 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.05%
มูลค่า 100 ล้านบาทขึ้นไป >> อัตราภาษี 0.10%
กรณีบ้านหลังหลักที่เป็นเจ้าของบ้านและเจ้าของที่ดิน (เจ้าของบ้านอาศัยอยู่เอง) ได้รับการยกเว้นภาษี 50 ล้านบาทแรก ส่วนกรณีเป็นเจ้าของเฉพาะบ้านอย่างเดียว (บ้านเจ้าของอยู่เองบนที่ดินเช่า) จะได้รับการยกเว้นภาษี 10 ล้านบาทแรก
ที่ดินที่ใช้ในกลุ่มพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม
มูลค่าที่ดิน 0-50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.3%
มูลค่าที่ดิน 50-200 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.4%
มูลค่าที่ดิน 200-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.5%
มูลค่าที่ดิน 1,000-5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.6%
มูลค่าที่ดินเกิน 5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.7%
มูลค่าที่ดิน 50-200 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.4%
มูลค่าที่ดิน 200-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.5%
มูลค่าที่ดิน 1,000-5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.6%
มูลค่าที่ดินเกิน 5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.7%
ที่ดินที่ไม่ได้ใช้ทำประโยชน์ เพดานภาษีสูงสุด 1.2% แต่จะเพิ่มเพดานเป็น 3% เมื่อปล่อยทิ้งว่างติดต่อกัน 3 ปี
มูลค่าที่ดิน 0-50 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.3%
มูลค่าที่ดิน 50-200 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.4%
มูลค่าที่ดิน 200-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.5%
มูลค่าที่ดิน 1,000-5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.6%
มูลค่าเกิน 5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.7%
มูลค่าที่ดิน 50-200 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.4%
มูลค่าที่ดิน 200-1,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.5%
มูลค่าที่ดิน 1,000-5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.6%
มูลค่าเกิน 5,000 ล้านบาท >> อัตราภาษี 0.7%
และถ้าหากปล่อยร้างเป็นเวลา 3 ปีติดต่อกัน จะถูกเก็บภาษีเพิ่มอีก 0.3% ในปีที่ 4 และถูกเก็บเพิ่มขึ้น 0.3% ทุกๆ 3 ปี หากยังไม่ได้มีการนำมาใช้ประโยชน์ แต่สูงสุดไม่เกิน 3%
ทั้งนี้ อัตราการเก็บภาษีตามมูลค่าแบบขั้นบันได จะบังคับใช้ใน 2 ปีแรก (2563-2564) ส่วนปีต่อไปจะพิจารณาเก็บตามอัตราเพดานสูงสุดอีกที
ในบทความหน้า เราจะมาอัพเดตกันต่อเนื่องในเรื่องของวิธีการคำนวณภาษีที่ดินกันค่ะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น